www.sso.go.th ประกันสังคมมาตรา 33 เช็คสิทธิ์ กับข้อสงสัยสิทธิประโยชน์ดูเลย

29 เม.ย. 2565 | 04:51 น.

www.sso.go.th ประกันสังคมมาตรา 33 เช็คสิทธิ์ ไขข้อสงสัยสิทธิประโยชน์ที่ผู้ประกันตนได้รับดูรายละเอียดที่นี่

www.sso.go.th  ประกันสังคมมาตรา 33 เช็คสิทธิ์ โดย ผู้ประกันตน ยังมีคำถามกับสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตนได้รับสิทธิอะไรบ้าง

ดังนั้น www.sso.go.th  ประกันสังคมมาตรา 33  ได้เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับคำถามที่พบบ่อยดังนี้

 

ถาม ต้องการตรวจสอบสถานพยาบาลตามสิทธิฯ  สามารถตรวจสอบได้ทางใดบ้าง

ตอบ ผู้ประกันตนสามารถตรวจสอบสถานพยาบาล ตามสิทธิการรักษาพยาบาลได้ทางเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th,ผู้ประกันตนจะได้รับความคุ้มครองจาก กองทุนประกันสังคมต่ออีก 6 เดือนดาวน์โหลด Application SSO Connect หรือ หลังจากออกจากงานใน 4 กรณี ได้แก่

  • Application Line Official Account เจ็บปวย คลอดบุตร ทุพพลภาพ เสียชีวิต 
  • เพิ่มเพื่อน @ssothai หรือสอบถามผ่าน เงินทดแทนการขาดรายได้ระหว่างว่างงาน
  • Facebook Messenger ทั้งกรณีลาออก สั่นสุดสัญญาจ้าง ของสำนักงานประกันสังคม ถูกเลิกจ้าง หรือออกจากงานเนื่องจาก
  • โทรสายด่วน 1506 เหตุสุดวัสัย และเมื่อผู้ประกันตนได้ทุกวัน ตลอด 24 ชั่วโมง

 

 

ถาม ออกจากงานจะได้รับสิทธิอะไรจากประกันสังคมบ้าง

ตอบ ผู้ประกันตนจะได้รับความคุ้มครองจากกองทุนประกันสังคมต่ออีก 6 เดือน หลังจากออกจากงานใน 4 กรณี ได้แก่

  • เจ็บป่วย
  • คลอดบุตร
  • ทุพพลภาพ
  • เสียชีวิต
  • เงินทดแทนการขาดรายได้ระหว่างว่างงาน
  • ทั้งกรณีลาออก สิ้นสุดสัญญาจ้าง
  • ถูกลูกจ้าง หรือ ออกจากงานเนื่องจากเหตุสุดวิสัย
  • และ เมื่อผู้ประกันตนอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ สามารถรับเงินสะสมชราภาพคืนได้

 

 

  ประกันสังคมมาตรา 33

ถาม เงินสมทบถูกหันประกันสังคม ลดหย่อนภาษีได้หรือไม่

ตอบ เงินสมทบที่ผู้ประกันตนส่งเข้ากองทุนประกันสังคมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้ ดังนี้

  • ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้

ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริงไม่เกิน 9,000 บาท (750x12 เดือน = 9,000 บาท)แต่ในปี 2564 มีการลดเงินสมทบจะลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 5,100 บาท

  • ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้

ตามจำนวนเงินที่จ่ายจริง ไม่เกิน 5,184 บาท (432x12 เดือน = 5,184 บาท) แต่ในปี 2564 มีการลดเงินสมทน จะลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 3,003 บาท

  • ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้

ต้ามจำนวนเงินที่จ่ายจริง ไม่เกิน 3,600 บาท (300x12 เดือน = 3,600 บาท) แต่ในปี 2564 มีการลดเงินสมทบ ดังนี้

  • ทางเลือก 1 ลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 700 บาท
  • ทางเลือก 2 ลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 1,000 บาท
  • ทางเลือก 3 ลดหย่อนสูงสุดไม่เกิน 3,000 บาท.

 

ที่มา: สำนักงานประกันสังคม